วันพุธที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2558

ประเทศลาว (Laos) : ภาษาลาว

ประเทศลาว (Laos)

ภาษา : ภาษาลาว เป็นภาษาราชการ
ภาษาลาว (ลาว: ພາສາລາວ พาสาลาว) เป็นภาษาราชการของประเทศลาว เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ในภาษากลุ่มไท และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับภาษาอีสานของประเทศไทยซึ่งเป็นสำเนียงหนึ่งของภาษาลาว ระบบการเขียนในภาษาลาวจะใช้อักษรลาวซึ่งเป็นระบบอักษรสระประกอบ (ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระที่จะอยู่ด้านหน้า หลัง บน ล่าง ของพยัญชนะ) และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับอักษรไทย

สำเนียงภาษาถิ่

สำเนียงภาษาถิ่นของภาษาลาวสามารถแบ่งได้ 6 สำเนียงใหญ่ คือ:

2.            ภาษาลาวเหนือ (หลวงพระบาง ไชยบุรี อุดมไชย หลวงน้ำทา)
3.            ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ (เชียงขวาง หัวพัน)
4.            ภาษาลาวกลาง (คำม่วน สุวรรณเขต)
5.            ภาษาลาวใต้ (จำปาศักดิ์ สาละวัน เซกอง อัตปือ)
6.            ภาษาลาวตะวันตก (ไม่มีใช้ในประเทศลาว ร้อยเอ็ด)

ส่วนจังหวัดอื่น ๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและบางจังหวัดในภาคเหนือของไทยจะใช้สำเนียงดังนี้
·         ภาษาลาวเหนือ จังหวัดที่พูดในประเทศไทย เช่น จังหวัดเลย อุตรดิตถ์ (อำเภอบ้านโคก น้ำปาด ฟากท่า) เพชรบูรณ์ (อำเภอหล่มสัก หล่มเก่า น้ำหนาว) ขอนแก่น (อำเภอภูผาม่าน และบางหมู่บ้านของ อำเภอสีชมพู ชุมแพ) ชัยภูมิ (อำเภอคอนสาร) พิษณุโลก (อำเภอชาติตระการ และนครไทยบางหมู่บ้าน) หนองคาย (อำเภอสังคม) อุดรธานี (อำเภอน้ำโสม นายูง บางหมู่บ้าน)
·         ภาษาลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ไม่ค่อยมีผู้พูดในประเทศไทย จังหวัดที่พูดในประเทศไทยส่วนใหญ่จะเป็นชุมชนลาวพวนที่อพยพมาจากแขวงเซียงขวาง สปป.ลาว เช่น ที่บ้านเชียง อำเภอหนองหาน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี และบางหมู่บ้าน ใน จังหวัดสกลนคร หนองคาย และยังมีชุมชนลาวพวนในภาคเหนือบางแห่งในจังหวัด สุโขทัย อุตรดิตถ์ แพร่ ไม่กี่หมู่บ้านเท่านั้น
·         ภาษาลาวเวียงจันทน์ จังหวัดที่พูดในประเทศไทย เช่น จังหวัดชัยภูมิ หนองบัวลำภู หนองคาย (อำเภอเมืองหนองคาย ศรีเชียงใหม่ ท่าบ่อ โพนพิสัย) ขอนแก่น (อำเภอภูเวียง ชุมแพ สีชมพู ภูผาม่าน หนองนาคำ เวียงเก่า หนองเรือบางหมู่บ้าน) ยโสธร (อำเภอเมืองยโสธร ทรายมูล กุดชุม บางหมู่บ้าน) อุดรธานี (อำเภอบ้านผือ บางหมู่บ้านของอำเภอเมืองอุดรธานี เพ็ญ) ศรีสะเกษ (บางหมู่บ้านของ อำเภอเมืองศรีสะเกษ ขุขันธ์ ขุนหาญ)
·         ภาษาลาวกลาง แยกออกเป็นสำเนียงถิ่น 2 สำเนียงใหญ่ คือ ภาษาลาวกลางถิ่นคำม่วน และถิ่นสะหวันนะเขด ถิ่นคำม่วน จังหวัดที่พูดในประเทศไทย เช่น จังหวัดนครพนม สกลนคร บึงกาฬ (อำเภอเซกา บึงโขงหลง บางหมู่บ้าน) ถิ่นสะหวันนะเขด จังหวัดที่พูดมีจังหวัดเดียว คือ จังหวัดมุกดาหาร
·         ภาษาลาวใต้ จังหวัดที่พูดในประเทศไทย จังหวัดอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ ยโสธร
แต่ในปัจจุบัน ภาษาลาวตะวันตกหรือภาษาอีสานในประเทศไทยไม่ได้รับการพัฒนาให้ใช้เป็นภาษาทางการ รัฐบาลไทยได้กำหนดให้ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาทางการแทน จึงทำให้ภาษาลาวตะวันตกได้รับอิทธิพลจากภาษาไทยค่อนข้างมาก และมีการใช้คำศัพท์ภาษาไทยปะปนค่อนข้างมาก รวมทั้งไม่มีการใช้ตัวอักษรภาษาลาวในการเขียนด้วย จึงทำให้ภาษาลาวตะวันตกในปัจจุบันแตกต่างกับภาษาลาวในประเทศลาว ฉะนั้นจึงทำให้ประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยที่ไม่ได้เรียนภาษาลาวแบบประเทศลาว บางครั้งฟังภาษาลาวในแบบทางการลาวไม่เข้าใจโดยตลอด โดยจะเข้าใจแบบจับใจความรู้เรื่อง เท่านั้นแต่ไม่เข้าใจคำศัพท์ความหมายหรือประโยค ทุกคำทุกความหมายได้ เพราะคำศัพท์บางคำซึ่งทางการลาวบัญญัติขึ้นใหม่ ทำให้ภาษาขาดการติดต่อกัน แต่อย่างไรก็ยังถือว่าเป็นภาษาอันเดียวกัน อย่างกรณีภาษาอังกฤษในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา
ส่วนในประเทศลาว นอกจากสำเนียงถิ่นใหญ่แล้วยังมีสำเนียงแตกออกไปอีกหลายสำเนียงย่อย เช่น ภาษาลาวใต้ถิ่นสาละวัน ภาษาลาวกลางถิ่นสุวรรณเขต สำเนียงย่อยถิ่นเมืองอาดสะพังทอง ภาษาเวียงจันทน์ถิ่นเมืองปากงึม ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีผู้พูดภาษาลาวใต้ถิ่นจำปาศักดิ์ในจังหวัดพระวิหาร สตึงแตรง และรัตนคีรีของประเทศกัมพูชาด้วย

ระบบเสียง

พยัญชนะ


พยัญชนะต้น


ริมฝีปาก
ทั้งสอง
ริมฝีปากล่าง
-ฟันบน
ปุ่มเหงือก
หลังปุ่มเหงือก
เพดานแข็ง
เพดานอ่อน
เส้นเสียง
เสียงนาสิก

[m]
,


[n]
,

[ɲ]
, ຫຍ

[ŋ]
, ຫງ

เสียงกัก
[p]
[pʰ]
,
[b]

[t]
[tʰ]
,
[d]


[k]
[kʰ]
,

[ʔ]
*
เสียงเสียดแทรก

[f]
,
[s]
,




[h]
,
เสียงผสมเสียดแทรก



[t͡ɕ]



เสียงเปิด

[ʋ]
,ຫວ


[j]


เสียงเปิดข้างลิ้น



[l]
,,ຫຼ




* /ʔ/ ที่เป็นพยัญชนะต้นหมายถึงเสียงเงียบ และดังนั้นมันจึงถูกพิจารณาว่าเป็นเสียงกัก เส้นเสียง

พยัญชนะสะกด


ริมฝีปาก
ทั้งสอง
ริมฝีปากล่าง
-ฟันบน
ปุ่มเหงือก
หลังปุ่มเหงือก
เพดานแข็ง
เพดานอ่อน
เส้นเสียง
เสียงนาสิก

[m]


[n]



[ŋ]

เสียงกัก
[p̚]


[t̚]



[k̚]

[ʔ]
*
เสียงเปิด

[w]



[j]


* เสียงกัก เส้นเสียง จะปรากฏเฉพาะหลังสระเสียงสั้นเมื่อไม่มีพยัญชนะสะกด

สระ

เสียงสระในภาษาลาวซึ่งคล้ายคลึงกับเสียงสระภาษาไทยแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ สระเดี่ยว สระประสม และสระเกิน สะกดด้วยรูปสระพื้นฐานหนึ่งตัวหรือหลายตัวร่วมกัน
สระเดี่ยว หรือ สระแท้ คือสระที่เกิดจากฐานเพียงฐานเดียว มีทั้งสิ้น 18 เสียง

ลิ้นส่วนหน้า
ลิ้นส่วนหลัง
ปากเหยียด
ปากเหยียด
ปากห่อ
สั้น
ยาว
สั้น
ยาว
สั้น
ยาว
ลิ้นยกสูง
/i/
x
/iː/
x
/ɯ/
x
/ɯː/
x
/u/
x
/uː/
x
ลิ้นกึ่งสูง
/e/
x
/eː/
x
/ɤ/
x
/ɤː/
x
/o/
x, x
/oː/
x
ลิ้นกึ่งต่ำ
/ɛ/
x
/ɛː/
x


/ɔ/
xາະ
/ɔː/
x
, x
ลิ้นลดต่ำ


/a/
x
/aː/
x


สระประสม คือสระที่เกิดจากสระเดี่ยวสองเสียงมาประสมกัน เกิดการเลื่อนของลิ้นในระดับสูงลดลงสู่ระดับต่ำ ดังนั้นจึงสามารถเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "สระเลื่อน" มี 3 เสียงดังนี้
·         x /iːa/ ประสมจากสระ อี และ อา
·         xືອ /ɯːa/ ประสมจากสระ อือ และ อา
·         xົວ /uːa/ ประสมจากสระ อู และ อา

เสียงวรรณยุกต์

ภาษาลาวเวียงจันทน์มีระดับเสียงวรรณยุกต์ 6 ระดับ: Low (เอก) Mid (สามัญ) High (ตรี) Rising (จัตวา) High Falling (ใกล้เคียงกับโท) และ Low Falling (โท) ระดับเสียงจะแตกต่างกัน ไปตามชนพื้นเมืองของผู้พูดและที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เช่น ชาวหลวงพระบางจะใช้ ระดับเสียงวรรณยุกต์ 5 ระดับ คือ
·         กลางต่ำลงขึ้น
·         ต่ำขึ้น
·         กลางระดับ
·         สูงขึ้น
·         กลางขึ้น
วรรณยุกต์
สัทอักษรสากล
ตัวอย่าง
ไทย
อังกฤษ
อักษรลาว
รูปปริวรรต
สัทอักษรสากล
เทียบเสียงไทย
(โดยประมาณเท่านั้น)
ความหมาย
เอก
low
/◌̀/ [˨˩]
ກາ
กา
/kàː/
ก่า
กา,นกกา
จัตวา
rising
/◌̌/ [˨˦]
ຂາ
ขา
/kʰǎː/
ขา
ขา, อวัยวะใช้เดิน
สามัญ
mid
/◌̄/ [˧]
ຂ່າ,ຄ່າ
ข่า,ค่า
/kʰāː/
คา
ข่า (หัวข่า), ค่า (คุณค่า)
โทต่ำ
low-falling
/◌/ [˧˩]
ຂ້າ
ข้า
/kʰaː/
ข่า,ข้า
ข้า (สรรพนาม), ฆ่า, ข้าทาส
ตรี
high
/◌́/ [˦˥]
ຄາ
คา
/kʰáː/
ค้า
คา (คาที่), หญ้าคา
โทสูง
falling
/◌̂/ [˥˩]
ຄ້າ
ค้า
/kʰâː/
ค่า
ค้า, ค้าขาย


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น